รับตรวจสอบหม้อน้ำ (Boiler) โดยวิศวกรสามัญเครื่องกล

รายการตรวจสอบหม้อไอน้ำ และหม้อน้ำมันร้อน

1       ตรวจสอบภายนอก

1.1         ตรวจสอบฉนวนกันความร้อน

1.2         ตรวจสอบระบท่อต่างๆ เช่นท่อสตีม ท่อน้ำป้อน ท่อเชื้อเพลิง และปล่องไอเสีย

1.3         ตรวจเช็คอุปกรณ์ตรวจวัดต่างๆ อาทิเช่น เกจแรงดันน้ำ เกจแรงดันสตีม เกจแรงดันเชื้อเพลิง

1.4         ตรวจเช็คอุปกรณ์ความปลอดภัยต่างๆอาทิเช่น สวิทต์แรงดัน เครื่องวัดอุณหภูมิปล่อง

1.5         ตรวจเช็คจุดยึดต่างๆ

1.6         ตรวจเช็คระยะต่างๆของบอยเลอรืร่วมทั้งอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยและทางออกฉุกเฉิน

2       ตรวจสอบภายใน

2.1         ตรวจตะกรันด้านล่างห้องบอยเลอร์

2.2         ตรวจเช็คความผิดปกติของท่อไฟใหญ่และวัดความหนาเพื่อคำนวนหาความสามารถในการรับแรงดัน

2.3         ตรวจเช็คความผิดปกติของท่อไฟเล็กและวัดความหนาเพื่อคำนวนหาความสามารถในการรับแรงดัน

2.4         ตรวจเช็คเหล็กยึดโย่งในห้องบอยเลอร์

2.5         ตรวจเช็คผนังบอยเลอร์และวัดความหนาเพื่อคำนวณหาความสามารถในการรับแรงดัน

2.6         ตรวจเช็คหาความผิดปกติของฝาเตาหน้าหลัง

2.7         ตรวจเช็คอิฐทนไฟและฉนวนทนไฟต่างๆ

2.8         ตรวจเช็คพัดลมและถ้วยเชลามิคของหัวเผา

2.9         ตรวจเช็คความผิดปกติของหัวเผา

3       ตรวจสอบระบบป้องกันบอยเลอร์

3.1         ตรวจทดสอบเครื่องควบคุมระดับน้ำในสตีมดัม ระดับน้ำในดัมต่ำมาก บอยเลอร์ต้องหยุดการทำงาน

3.2         ตรวจทดสอบแรงดันในระบบท่อแรงดันเมื่อแรงดันเกินกำหนด บอยเลอร์ต้องหยุดการทำงาน

3.3         ตรวจทดสอบเครื่องตรวจวัดความร้อนเมื่ออุณหภูมิเกินกำหนด ระบบจ่ายเชื้อเพลิงต้องหยุดการทำงาน

3.4         ตรวจทดสอบเปลวไฟในห้องเผาไหม้ถ้าเกิดเครื่องตรวจวัดตวจจับไม่ได้บอยเลอร์ต้องหยุดการทำงาน

3.5         ตรวจทดสอบเมื่อปั้มน้ำป้อนไม่ทำงานหรือหยุดทำงาน บอยเลอร์ต้องหยุดการทำงานเช่นกัน

3.6         ตรวจทดสอบเมื่อระดับน้ำในถังในป้อนสำรองตำกว่าเกณฑ์กำหนด ปั้มน้ำป้อนต้องหยุดทำงาน

4       ขั้นตอนการตรวจสอบ

3.1          ตรวจเช็คสมุดบันทึกรายงานต่างๆของบอยเลอร์และค่าน้ำป้อน

               3.2          หยุดหม้อไอน้ำและเปิดผาเพื่อตรวจเช็คข้างในโดยไม่ต้องทำความสะอาดก่อนตรวจ

3.3          ตรวจภายในทั้งหมดตามหัวข้อ 2 และตรวจภายนอกตามหัวข้อ 1

3.4          ทำการทดสอบแรงดันโดยการอัดน้ำที่ 1.25 เท่าของแรงดันที่ออกแบบ MAWP(30-60 นาที)

 3.5         ตรวจทดสอบระบบไฟฟ้าควบคุมหรือระบบป้องกันบอยเลอร์ตามข้อที่ 3

 3.6         ตรวจเช็คเปลวไฟในห้องเผาไหมและการรั่วซึ่มของฝาเตาและตรวจเช็คอุณหภูมิบอยเอลร์

 3.7         ตรวจทดสอบ Safety valve ตามกฏหมายกำหนด

3.8          ตรวจสอบความเรียบร้อยทั้งหมดของบอยเลอร์

 

หมายเหตุ

 

3.1        โรงงานต้องจัดเตรียมน้ำ,ประเก็น,Blind flange ของ Safety valve เพื่อทำการทดสอบแรงดันน้ำ ในกรณีที่ Safety valve ไม่สามารถล็อกปริงวาล์วได้

            3.2        โรงงานต้องจัดเตรียมอะไหล่ต่างๆที่ทดแทนของเดิมที่ชำรุด

3.3        โรงงานต้องจัดทีมงานผู้ควบคุมหม้อไอน้ำเข้าตรวจเช็คพร้อมวิศวกรตรวจสอบเพื่อตอบถามข้อมูลในการเดินเครื่อง และจุดบกพร่องของหม้อไอน้ำ

3.4        โรงงานต้องจัดเตรียมแสงสว่างและพัดลมระบายอากาศ ร่วมทั่งนั่งร้านในกรณีที่ต้องขึ้นที่สูงเพื่อตรวจเช็ค

3.5       วิศวกรตรวจสอบรับรองเฉพาะงานหม้อไอน้ำ และหม้อน้ำมันร้อนเท่านั้น ไม่รวมในส่วนที่เป็น Pressure vessel

 

More information, please contact Mobile: 064 9525389 Chienchai  email: chienchai@pdms.co.th

                                                 087 7752717 Thanachot email: deesomthanachot@gmail.com

line: 0649525389

 

 

 

 

Visitors: 45,588